1. Kl Aihara and R. Katayama, “Chaos Engineering in Japan”, Communications of the ACM, Vol 38 No 1, November 1995 (กล่าวถึงการประยุกต์ทฤษฎีความโกลาหลในด้านวิศวกรรม โดยเน้นผลงานในญี่ปุ่น จากที่มีความเข้าใจเรื่องนี้ดีที่สุดคนหนึ่งในญี่ปุ่น)
2. W. Ditto and T. Munakata, “Principles and Applications of Chaotic Systems,Communications of the ACM, Vol 38 No 1, November 1995 (กล่าวถึงทฤษฎีความโกลาหลและการประยุกต์ใช้อย่างกว้าง ๆ และค่อนข้างเข้าใจง่าย)
3. J. Gleick, “Chaos: Making a New Science”, Penguin, 1987 (กล่าวถึงการก่อกำเนิดของทฤษฎีความโกลาหลได้อย่างมีชีวิตชีวา ด้วยภาษาอ่านง่ายชวนติดตาม เป็นงาน popularscience ที่ดีมาก)
4. D. Gulick, “Encouter with chaos”, McGraw-Hill, 1992 (ปูพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของทฤษฎีความโกลาหลได้อย่างเข้าใจง่ายและกะทัดรัด เป็นตำราเรียนขั้นต้นที่ดี
5. B. LeBaron, “Chaos and Nonlinear Forcastability in Economics and Finance”,Proc. Of the Royal Society, forthcoming, (สำรวจงายวิจัยด้านการประยุกต์ใช้ทฤษฎีความโกลาหลในเศรษฐศาสตร์มหาภาค และ การเงินได้กะทัดรัด และค่อนข้างครอบคลุม)
6. Nonlinear Science FAQ, (สรุปคำถามว่าด้วย ทฤษฎีความโกลาหล ทฤษฎีแบบไม่เป็นเชิงเส้น และทฤษฎีระบบซับซ้อนได้กะทัดรัด ด้วยภาษาที่รัดกุมและเข้าใจง่าย)
7. Fractal FAQ, (สรุปคำถามว่าด้วย ทฤษฎีแฟรกตัลได้กะทัดรัด ด้วยภาษาที่รัดกุมและเข้าใจง่าย)
8. ชัยวัฒน์ ถิระพันธ์, “ทฤษฎีความไร้ระเบียบ กับทางแพร่งของสังคมสยาม”, สำนักพิมพ์ภูมิปัญญา, 2537 (กล่าวถึงทฤษฎีความโกลาหลได้อย่างค่อนข้างถูกต้อง มีจุดเด่นที่สรุปการประยุกต์ใช้ทฤษฎีนี้ในด้านสังคมศาสตร์ในยุโรป โดยเฉพาะเยอรมัน ซึ่งหาอ่านจากที่อื่นยากไว้ได้อย่างเข้าใจง่าย)
9. ยุค ศรีอาริยะ, “โลกาภิวัตน์ 2000 ว่าด้วยประวัติย่อทางเวลาทางสังคมศาสตร์”, ใน“โลกาภิวัตน์ 2000”, บริษัทไอโอนิค อินเตอร์เทรด รีซอสเซส, 2537 (กล่าวถึงทฤษฎีความโกลาหลอย่างค่อนข้างไขว้เขว แต่มีมุมมองด้านสังคมศาสตร์ที่น่าสนใจหลายอย่างแม้จะเขียนด้วยภาษาเทศนาก็เต็มไปด้วยอารมณ์)
เอกสารอ้างอิงโดย : ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวาณิชย์